Page 92 - FoodFocusThailand No.160 July 2019
P. 92

SOURCE OF ENGINEER

            เป้าหมายการพัฒนาพลังงานทดแทน                             2.1 การผลิตความร้อนจากวัตถุดิบพลังงานทดแทนคงเหลือ ได้แก่ ขยะ
            ในการจัดท�าแผน AEDP2015 ได้น�าค่าพยากรณ์ความต้องการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย  ชีวมวล และก๊าซชีวภาพ โดยเป็นศักยภาพเชื้อเพลิงคงเหลือหลังจากหักส่วน
            ตามแผนอนุรักษ์พลังงาน (Energy Efficiency Plan; EEP 2015) กรณีที่สามารถ  ที่ประเมินเพื่อน�าไปผลิตเป็นพลังงานประเภทอื่นแล้ว
            บรรลุเป้าหมายลดความเข้มการใช้พลังงาน (Energy Intensity) ลงร้อยละ 30                    2.2 การผลิตความร้อนจากไม้โตเร็ว พิจารณาจากศักยภาพของพื้นที่ดิน
            ในปี 2579 เมื่อเทียบกับปี 2553 แล้ว คาดการณ์ความต้องการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย  เสื่อมโทรมในการปลูกไม้โตเร็ว โดยคัดเลือกพื้นที่ในการศึกษาเป็นพื้นที่เสื่อมโทรม
            ณ ปี 2579 จะอยู่ที่ระดับ 131,000 พันตันเทียบเท่าน�้ามันดิบ (ktoe) ค่าพยากรณ์  ในระดับวิกฤติ และระดับรุนแรง ในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมนอกเขต
            ความต้องการพลังงานไฟฟ้าสุทธิของประเทศจากแผนพัฒนาก�าลังผลิตไฟฟ้า             ชลประทานเป็นหลัก ซึ่งไม่เหมาะสมในการปลูกพืชเศรษฐกิจหลัก เพื่อไม่ให้
            ของประเทศไทย (Power Development Plan; PDP2015) ในปี 2579 มีค่า 326,119  เกิดผลกระทบในการแย่งพื้นที่เพาะปลูกพืชอาหาร พบว่าประเทศไทยมีพื้นที่
            ล้านหน่วย หรือเทียบเท่า 27,789 ktoe ค่าพยากรณ์ความต้องการใช้พลังงาน              ที่มีศักยภาพส�าหรับการปลูกไม้โตเร็วประมาณ 4 ล้านไร่ เมื่อประเมินการใช้
            ความร้อน ในปี 2579 เท่ากับ 68,413 ktoe และค่าพยากรณ์ความต้องการใช้                  พื้นที่ดังกล่าวเพียง 1 ใน 3 หรือ 1.45 ล้านไร่ จะสามารถผลิตชีวมวลได้ประมาณ
            เชื้อเพลิงในภาคขนส่งจากแผนบริหารจัดการน�้ามันเชื้อเพลิง ในปี 2579 มีค่า 34,798  18 ล้านตันต่อปี
            ktoe มาเป็นกรอบในการก�าหนดเป้าหมายเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทน               2.3 การผลิตความร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์ โดยประเมินศักยภาพจาก
            รวมทั้งพิจารณาถึงศักยภาพแหล่งพลังงานทดแทนที่สามารถน�ามาพัฒนาได้                    กลุ่มเป้าหมายที่มีความต้องการใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตความร้อน
            ทั้งในรูปของพลังงานไฟฟ้า ความร้อน และเชื้อเพลิงชีวภาพภายใต้แผน AEDP2015  ใน 3 เทคโนโลยี ได้แก่ ระบบน�้าร้อนแสงอาทิตย์ ระบบอบแห้งแสงอาทิตย์ และ
            เป็นร้อยละ 30 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายในปี 2579     ระบบท�าความเย็นด้วยความร้อนแสงอาทิตย์ คิดเป็นเป้าหมายส่งเสริมการผลิต
                                                                   ความร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์ รวม 1,200 ktoe
            เป้าหมายการผลิตความร้อนจากพลังงานทดแทน                   2.4 การผลิตความร้อนจากพลังงานทางเลือกอื่น คือ แหล่งวัตถุดิบที่
            ความต้องการพลังงานเพื่อการผลิตความร้อนเป็นสัดส่วนที่ส�าคัญในความต้องการ  อยู่ระหว่างการส�ารวจ หรือการวิจัยพัฒนาที่อาจมีศักยภาพในอนาคตหากมีการ-
            พลังงานของประเทศ ซึ่งมีอัตราการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและแปรผันตรงกับ  พัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม และต้นทุนสามารถแข่งขันได้กับเชื้อเพลิง
            สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ การก�าหนดเป้าหมายส่งเสริมการผลิตความร้อนพิจารณา  พลังงานประเภทอื่นๆ เช่น พลังงานความร้อนใต้พิภพ เป็นต้น
            ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
               1. การคาดการณ์ความต้องการพลังงานเพื่อผลิตความร้อน ได้คาดการณ์           ผลที่คาดว่าจะได้รับ
            ความต้องการพลังงานเพื่อผลิตความร้อน ในปี 2579 โดยมีปริมาณทั้งสิ้น 68,413   การบรรลุเป้าหมายตามนโยบายที่จะเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทน ทั้งใน
            ktoe ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ความต้องการพลังงานขั้นสุดท้ายของ             รูปของพลังงานไฟฟ้า ความร้อน และเชื้อเพลิงชีวภาพ ภายใต้แผน AEDP2015
            ประเทศตามแผน EEP 2015 ความต้องการพลังงานไฟฟ้าตามแผน PDP2015               เป็นร้อยละ 30 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายในปี 2579 จะเทียบเท่ากับการลดใช้
            และความต้องการเชื้อเพลิงในภาคขนส่งตามแผนบริหารจัดการน�้ามันเชื้อเพลิง  เชื้อเพลิงฟอสซิลได้ราว 39,388 ktoe ซึ่งประเมินเป็นมูลค่าการลดใช้เชื้อเพลิง
               2. การประเมินศักยภาพการผลิตความร้อน จะพิจารณาจากทรัพยากรพลังงาน  ฟอสซิลได้ 590,820 ล้านบาท (ราคาน�้ามันดิบ 1 ktoe = 15 ล้านบาท) หรือประเมิน
            ทดแทนใน 4 กลุ่ม ดังนี้                                 เป็นก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้จากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลเพื่อผลิตพลังงาน
                                                                   ได้ราว 140 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (tCO e)
                                                                                                     2
            Renewable Energy


            and Alternative Energy





            Ministry of Energy has developed the Thailand Integrated Energy Blueprint
            (TIEB) with focus on energy security, economy and ecology. In the TIEB, Ministry
            of Energy has reviewed five energy master plans during the year 2015-2036
            in consistent with the national economic and social development plan. One of
            the five master plans is the Alternative Energy development Plan (AEDP2015).















             92 92  FOOD FOCUS THAILAND  JUL   201919
                FOOD FOCUS THAILAND
                                JUL   20
         91-93_Source of Engine.indd   92                                                                            20/6/2562 BE   15:34
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97