Page 94 - FoodFocusThailand No.160 July 2019
P. 94
SURF THE AEC
SURF THE AEC
ดร.ไพศาล มะระพฤกษ์วรรณ
Paisan Maraprygsavan, Ph.D.
Director
Industrial and Service Trade Research Division
Trade Policy and Strategy Office
Ministry of Commerce
paisan711@gmail.com
มาเลเซียเป็นตลาดส่งออกอาหารที่น่าสนใจ เนื่องจากมาเลเซีย
เป็นประเทศน�าเข้าอาหารสุทธิและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยในปี 2561
มีการน�าเข้าสินค้าอาหาร 11.19 พันล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นจาก
8.9 พันล้านเหรียญสหรัฐในปี 2552 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 25 ขณะที่กระแส
การค้าออนไลน์ก็ก�าลังมาแรงโดยเติบโตสูงเป็นอันดับ 2 รองจากไทยในอาเซียน
Malaysia is an interesting market for Thai food exporters, as it is a net importer and is keen to import more.
In 2018, the country imported USD 11.19 billion worth of food products, increasing USD 8.9 billion or 25%
from 9 years prior (2009). Meanwhile, its online market is growing the second fastest in ASEAN, following
only Thailand.
Penetrating Malaysia’s Food Market
เจาะตลาดสินค้าอาหารมาเลเซีย
การส่งออกสินค้าเกษตรกรรมและเกษตรอุตสาหกรรมของไทยไปมาเลเซียมี น�าเข้า เนื่องจากการผลิตในประเทศไม่พอกับความต้องการ (ที่มา: ศูนย์วิจัยกสิกรไทย)
การเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2561 การส่งออกสินค้าเกษตรไปมาเลเซียมี • การค้าออนไลน์เติบโตสูง โดยมูลค่าค้าออนไลน์มาเลเซีย ในรูปของ B2C ในปี
มูลค่า 11.62 พันล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวร้อยละ 12.4 จากปี 2560 สินค้าส�าคัญ 2561 มีมูลค่า 19.41 พันล้านเหรียญสหรัฐ สูงเป็นอันดับ 2 ในอาเซียน รองจาก
ที่ส่งไปมาเลเซียในปี 2561 เช่น ข้าวมูลค่า 195 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวร้อยละ ประเทศไทย (24.7 พันล้านเหรียญสหรัฐ) (ที่มา: ETDA)
58 และไก่สดแช่แข็งมูลค่า 60 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.5 เป็นต้น • ค่าใช้จ่ายด้านอาหารของคนมาเลเซียอยู่ในสัดส่วนสูงเป็นอันดับ 3 คิดเป็น
จุดแข็งสินค้าอาหาร/เกษตรไทยในมาเลเซีย ร้อยละ 14 ของค่าใช้จ่ายรวม และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น (อันดับ 1 ขนส่ง ร้อยละ 23 ที่อยู่
• คนมาเลเซียนิยมอาหารไทยมาก โดยพบว่าร้านอาหารไทยมีมากกว่า 5,000 อาศัย ร้อยละ 20) (ที่มา: ธนาคารเพื่อการส่งออกและน�าเข้าแห่งประเทศไทย)
แห่ง โดยเฉพาะกรุงกัวลาลัมเปอร์มีกว่า 1,000 แห่ง • คนมาเลเซียหันมานิยมอาหารเพื่อสุขภาพ/ออร์แกนิคมากขึ้น โดยเฉพาะคนที่
• รสชาติอาหารมาเลเซียใกล้เคียงกับอาหารไทย อายุ 40 ปีขึ้นไปที่ห่วงใยสุขภาพ
• รัฐบาลไทยมีนโยบาย “ครัวไทยสู่ครัวโลก” • อาหารพร้อมรับประทาน (Ready-to-Eat) เป็นที่นิยมมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับ
• ชาวมาเลเซียชอบผลไม้ไทย โดยเน้นรสหวาน เช่น นิยมรับประทานทุเรียน รูปแบบชีวิตที่เร่งรีบและเป็นสังคมเมืองเพิ่มขึ้น
ที่สุกเต็มที่จนมีรสหวานจัด • ภาษีสินค้าอาหาร 0% ภายใต้ FTA อาเซียน
จุดอ่อน • เนื้อไก่เป็นที่นิยมมากในมาเลเซีย และนับเป็นประเทศที่มีอัตราการบริโภค
• เกษตรกรของไทยยังท�าตลาดในมาเลเซียด้วยตัวเองไม่มาก ส่งผลให้ เนื้อไก่ต่อคนต่อปีสูงที่สุดในโลก 37 กิโลกรัม/คน/ ปี (ไทย 12 กิโลกรัม/คน/ปี)
การปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับตลาดท�าได้ยาก • คนรุ่นใหม่มาเลเซียจัดเป็น Shopaholic (มีความสุขกับการซื้อของออนไลน์) และ
• เกษตรกรของไทยส่วนใหญ่ยังขาดประสบการณ์การท�าตลาดด้วยตัวเอง นิยมจ่ายด้วยบัตรเครดิต (ที่มา: AEC Connect ส�านักงานนโยบายและยุทธศาสตร์
โอกาส การค้า)
• เศรษฐกิจของมาเลเซียขยายตัวอย่างต่อเนื่องโดยในปี 2561 มีการขยายตัว • มีการซื้อออนไลน์แบบ Cross Border สูงถึงร้อยละ 40 ของการค้าออนไลน์รวม
ร้อยละ 4.7 จากปีก่อนหน้า (ที่มา: AEC Connect ส�านักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า)
• คนมาเลเซียมีรายได้สูง และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยในปี 2561 มีมูลค่า • มาเลเซียได้ประกาศยกเลิกภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยจะน�าภาษีสินค้าและบริการ
10,703.6 เหรียญสหรัฐ ขยายตัวร้อยละ 10 จากปีก่อนหน้า (Sales Tax and Service Tax; SST) มาใช้แทน โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2561
• คนมาเลเซียรับประทานอาหารเฉลี่ย 5-6 มื้อต่อวัน และนิยมรับประทาน ส่งผลให้อัตราภาษีอาหารลดจากร้อยละ 6 เป็น ร้อยละ 5 ซึ่งจะท�าให้ประชาชนมั่นใจ
ผลไม้และน�้าผลไม้ อีกทั้งยังนิยมอาหารรสหวาน ในการจับจ่ายด้านอาหารมากขึ้น (ที่มา: Fitch Solutions)
• ประชากรส่วนใหญ่อยู่ในช่วงวัยรุ่นและวัยท�างาน (อายุ 15-64 ปี มีสัดส่วน อุปสรรค
ร้อยละ 68 ของประชากร) ซึ่งให้การยอมรับอาหารแปลกใหม่ได้ดี โดยเฉพาะอาหาร • คนมาเลเซียนิยมข้าวน้อยลง โดยหันไปรับประทานอาหารแนวตะวันตกมากขึ้น
94 FOOD FOCUS THAILAND JUL 2019
94-95_Surf of the AEC_Malaysia.indd 94 20/6/2562 BE 14:57