Page 91 - FoodFocusThailand No.160 July 2019
P. 91
SOURCE OF ENGINEER
SOURCE OF ENGINEER
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
กระทรวงพลังงาน
Department of Renewable Energy Development and Energy Efficiency
Ministry of Energy
กสิภูมิ ทวนคง
Khasipoom Thaunkhong กระทรวงพลังงานได้วางกรอบแผนบูรณาการ การพัฒนาพลังงานทดแทนในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นผลมาจากนโยบาย
Assistant Product Manager
BJC Specialties Company Limited พลังงานแห่งชาติ ที่ให้ความส�าคัญใน 3 ด้าน ส่งเสริมการผลิตการใช้พลังงานทดแทน โดยการใช้งานจะอยู่ในรูปของพลังงานไฟฟ้า พลังงาน
Khasipot@bjc.co.th
ประกอบด้วย ด้านความมั่นคงทางพลังงาน ด้าน ความร้อน และเชื้อเพลิงชีวภาพ ในปี 2557 ประเทศไทยมีการใช้พลังงานทดแทนทั้งสิ้น 9,025
เศรษฐกิจ และด้านสิ่งแวดล้อม โดยในแผน พันตันเทียบเท่าน�้ามันดิบ (ktoe) เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 9.6 หรือคิดเป็นร้อยละ 11.9 ของ
บูรณาการพลังงานแห่งชาติ กระทรวงพลังงาน การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย โดยการใช้พลังงานทดแทนจะอยู่ในรูปของพลังงานความร้อน
มากที่สุด คิดเป็นสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 60 ของการใช้พลังงานทดแทนทั้งหมด รองลงมา
ได้ทบทวนการจัดท�าแผนพลังงาน 5 แผนหลัก ได้แก่ เชื้อเพลิงชีวภาพ และไฟฟ้า โดยในปี 2557 การใช้พลังงานความร้อน คิดเป็นร้อยละ 64
ในช่วงปี พ.ศ.2558-2579 ที่สอดคล้องกับ เชื้อเพลิงชีวภาพ และไฟฟ้า คิดเป็นร้อยละ 19.7 และ 16.3 ตามล�าดับ
รอบของการจัดท�าแผนพัฒนาเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมหลักที่มีการใช้เชื้อเพลิงพลังงานทดแทนเพื่อผลิตความร้อนจะเป็นอุตสาหกรรม
และสังคมแห่งชาติ ซึ่งหนึ่งในแผนพลังงาน เกษตรทั้งสิ้น ได้แก่ อุตสาหกรรมน�้าตาล อุตสาหกรรมผลิตน�้ามันปาล์ม อุตสาหกรรม
5 แผนหลัก คือ แผนพัฒนาพลังงานทดแทน แป้งมันส�าปะหลัง อุตสาหกรรมแปรรูปไม้ อุตสาหกรรมกระดาษ โรงสีข้าว และฟาร์มปศุสัตว์
และพลังงานทางเลือก (Alternative Energy ซึ่งล้วนเป็นอุตสาหกรรมที่มีเศษวัสดุเหลือทิ้งและของเสียจากกระบวนการผลิตที่สามารถ
Development Plan; AEDP2015) น�ามาเป็นวัตถุดิบในการผลิตพลังงานในรูปของเชื้อเพลิงชีวมวลและก๊าซชีวภาพจากน�้าเสีย
เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายจากการจัดซื้อเชื้อเพลิงจากภายนอกมาใช้
พลังงานทดแทน
และพลังงานทางเลือก
JUL 2019 FOOD FOCUS THAILANDFOOD FOCUS THAILAND 91 91
JUL 2019
91-93_Source of Engine.indd 91 21/6/2562 BE 16:53