Page 71 - FoodFocusThailand No.144_March 2018
P. 71

Functional F&B Supplement Edition

            ภาครัฐตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงมีมาตรการต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการรณรงค์  Recognizing this hazard, the government has introduced several
          ลดการบริโภคเกลือ การติดฉลากโภชนาการที่จะช่วยผู้บริโภคเลือกสรรอาหารที่มี  measures to encourage consumers to reduce their salt intake. These
          เกลือในปริมาณที่น้อยลง อย่างไรก็ตาม มาตรการดังกล่าวยังไม่เพียงพอในการ-  included a public relations campaign and proper nutrition labeling to
          ควบคุมปริมาณเกลือที่เหมาะสมส�าหรับประชาชน เนื่องจากเป็นมาตรการสมัครใจ   increase cognizance towards the need for healthier food choices.
                                                                    However, because these measures are voluntary, they have not been
          ยุทธศาสตร์การลดบริโภคเกลือและโซเดียม (พ.ศ.2559-2568) จึงถูกก�าหนดขึ้น  effective enough in curbing salt consumption here. This has led the
          เพื่อให้เกิดแนวทางด�าเนินงานที่ชัดเจนและสามารถบรรลุเป้าหมายลดปริมาณ     government to implement the Salt and Sodium Reduction Strategy
          การบริโภคเกลือลงเฉลี่ยร้อยละ 30 ภายในปี 2568 ตามตัวชี้วัดด้านสุขภาพของ  for  2016-2025,  with  a  clear  goal  of  reducing  the  average  salt
          องค์การอนามัยโลกได้ โดยที่ผ่านมามีการด�าเนินงานไปบ้างแล้ว เช่น การให้ความรู้  consumption in Thailand by 30% within 2025 in accordance with the
                                                                    Health Indicator of the World Health Organization (WHO). This
          แก่ประชาชนเพื่อให้ตระหนักถึงโทษของการบริโภคเกลือมากเกินไป พร้อมทั้งน�าเสนอ  strategy includes a public education program concerning the dangers
          วิธีการลดเกลือผ่านเมนูสุขภาพในพื้นที่น�าร่องอย่างโรงเรียนและโรงพยาบาล         of excessive salt consumption, wherein advices on healthier food
          การติดฉลากโภชนาการแบบ GDA (Guideline Daily Amount) ที่แสดงค่าพลังงาน   choices have been given to schools and hospitals in pilot areas.
          น�้าตาล ไขมัน และโซเดียม ที่ด้านหน้าบรรจุภัณฑ์ ในเบื้องต้นบังคับใช้กับผู้ประกอบ-  Moreover, Guideline Daily Amounts (GDA) labeling, which provides
                                                                    guidance on daily energy, sugar, fat and sodium needs, has been
          การผลิตขนม 5 หมวด ได้แก่ 1) มันฝรั่งทอดกรอบ/อบกรอบ 2) ข้าวโพดคั่ว ทอด   made mandatory on five categories of snack: 1) fried/baked potato
          หรืออบกรอบ 3) ข้าวเกรียบ/ขนมขบเคี้ยวชนิดอบพอง 4) ขนมปังกรอบ แครกเกอร์   chips;  2)  fried/baked  popcorn;  3)  rice  crisps/extruded  snack;  3)
          บิสกิต และ 5) เวเฟอร์สอดไส้ นอกจากนี้ ยังจัดท�าสัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือก  crackers/biscuits; and, 5) cream-filled wafers. The front-of-the-pack
          สุขภาพ” (Healthier Choice) เพื่ออ�านวยความสะดวกให้แก่ผู้บริโภคในการเลือก  Healthier Choice logo labeling scheme has also been launched to
                                                                    help consumers identify healthier food options.
          ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีคุณค่าโภชนาการที่เหมาะสม                  Measures that are likely to be introduced in the future include
            ส�าหรับมาตรการที่คาดว่าจะน�ามาปรับใช้ในอนาคต ได้แก่ การปรับสูตรอาหาร   food  reformation,  whereby  the  government  will  work  with  food
          โดยการขอความร่วมมือจากผู้ประกอบการผลิตอาหารปรับปริมาณเกลือที่ใช้ใน  companies to reduce the salt content in their processed foods. Initially,
          การปรุงอาหารลง ซึ่งในระยะแรกจะเริ่มในกลุ่มที่มีโซเดียมสูงก่อน คือ อาหารส�าเร็จรูป  such an effort will focus on high sodium content foods, such as instant
                                                                    foods and seasonings. If an agreement cannot be reached with food
          และเครื่องปรุงรส ทั้งนี้ หากไม่สามารถตกลงร่วมกันระหว่างผู้ประกอบการได้ หน่วยงาน  companies, relevant agencies would then introduce regulatory
          ที่รับผิดชอบจะออกกฎหมายควบคุมปริมาณเกลือที่เหมาะสมในอาหารแต่ละชนิด   controls on salt content for each food product. Taxes on an excessive
          และมาตรการสุดท้ายคือ การเก็บภาษีการใช้เกลือเกินปริมาณที่เหมาะสม
          ดังนั้น ในระยะต่อไปคงต้องติดตามผลการหารือร่วมในประเด็นแนวทางการปรับ
          สูตรอาหาร เนื่องจากผู้ประกอบการส่วนใหญ่มีความกังวลเกี่ยวกับยอดขายของ
          สินค้าหากรสชาติอาหารเปลี่ยนแปลงไปอันเกิดจากการลดปริมาณการใช้เกลือลง
            ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่ามาตรการตามยุทธศาสตร์การลดบริโภคเกลือและ
          โซเดียม (พ.ศ.2559-2568) น่าจะท�าให้คนไทยได้รับเกลือต่อวันในปริมาณที่ลดลง
          เนื่องจากผู้บริโภคมีโอกาสที่จะได้บริโภคอาหารที่มีปริมาณเกลือต�่าลงได้มากขึ้น
          อย่างไรก็ตาม หากมีการขยายขอบเขตการบังคับติดฉลากโภชนาการแบบ GDA
          ให้ครอบคลุมอาหารที่มีเกลือสูงทุกประเภทก็ยิ่งจะท�าให้การควบคุมปริมาณ
          การบริโภคเกลือมีประสิทธิภาพมากขึ้น





                                Number of Patients (Millions)


                                         13.0
                11.5
                                                8.0
                      7.1
                                                      5.0
                             3.5

                      2009                     2016

                High-blood pressure  Kidney disease  Diabetes







                                                                                                      MAR 2018 NO.48  71
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76