Page 73 - FoodFocusThailand No.144_March 2018
P. 73
Functional F&B Supplement Edition
cheeses and bacon, which contained the highest levels of salt;
thereafter 80 other food categories were included. Within 10 years,
consumers in the UK cut their salt intake by 10-50% (depending on
the types of foods most consumed).
Aside from food reformation, taxes have also been imposed to
curb salt consumption in Hungary, Portugal and Fiji. Hungary levies
a public health product tax on high salt content foods contained in
hermetically sealed packages, e.g., snacks and condiments. Portugal
collects value added tax (VAT) on processed and instant foods having
high salt contents, as does Fiji on imported monosodium glutamate .
5
However, taxes levied on foods having excessive salt content are
seen to only push up food prices, thus may not be effective enough
in encouraging consumers to change their harmful consumption
behavior. Therefore, a set of measures from a public education
6
program to regulatory controls on food processing of food companies
should be implemented, as in the case of Hungary where its public
relations campaign on the danger of excessive salt intake has been
proved to be more effective than using taxes to raise prices of high
salt content foods. However, if taxes are to be introduced, they should
cover high salt content foods across the broad and at appropriate
rates to prevent consumers from buying low-cost foods having high
salt content later on. This case is seen in France where a sugary drink
นอกจากการปรับสูตรอาหารแล้ว ปัจจุบันมี 3 ประเทศที่น�าระบบภาษีมาใช้ tax introduced in 2012 failed to promote lower sugar intake because
เพิ่มเติมเพื่อควบคุมปริมาณการบริโภคเกลือที่เหมาะสมให้แก่ประชาชน อันได้แก่ the tax rate was too low. The government thus was forced to rescind
it despite an additional tax revenue.
ฮังการี โปรตุเกส และฟิจิ โดยฮังการีใช้ระบบภาษีสินค้าเพื่อส่งเสริมสุขภาพ (Public
Health Product Tax) โดยเรียกเก็บภาษีจากอาหารในภาชนะบรรจุปิดสนิทที่มี
เกลือในปริมาณที่สูง เช่น ขนมขบเคี้ยว และเครื่องปรุงรส (Condiments) เป็นต้น
โปรตุเกสน�าภาษี VAT มาควบคุมการบริโภคเกลือในอาหารแปรรูปและอาหาร-
ส�าเร็จรูป และฟิจิเรียกเก็บภาษีน�าเข้าโมโนโซเดียมกลูตาเมต อย่างไรก็ตาม
5
การจัดเก็บภาษีจากปริมาณเกลือที่เกินมาตรฐานจนมีผลท�าให้ราคาสินค้าเพิ่มขึ้น
เพียงอย่างเดียว อาจไม่เพียงพอที่จะท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภค
ของประชาชน แต่ควรด�าเนินการเป็นชุดของมาตรการ ตั้งแต่การให้ความรู้แก่
6
ประชาชนไปจนถึงการออกกฎหมายควบคุมการผลิตของผู้ประกอบการ ดังเช่น
ฮังการีที่พบว่า การตระหนักรู้ถึงโทษของการบริโภคอาหารที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ
มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของประชาชนมากกว่าการขึ้นราคาอาหารจาก
มาตรการจัดเก็บภาษี นอกจากนี้ ภาษีดังกล่าวต้องครอบคลุมสินค้าที่ต้องการ
ควบคุมปริมาณเกลือทั้งหมดและมีอัตราภาษีที่เหมาะสม เพื่อป้องกันผู้บริโภค
หันไปบริโภคอาหารที่มีเกลือในปริมาณสูงแต่มีราคาถูก ดังเช่นฝรั่งเศส ในปี 2555
มีการเก็บภาษีเครื่องดื่มที่มีน�้าตาลเพื่อส่งเสริมสุขภาพแต่อัตราภาษีค่อนข้างต�่า
แม้รัฐบาลจะมีรายได้เพิ่มขึ้นแต่ไม่ส่งผลด้านการส่งเสริมสุขภาพ จนต้องยกเลิก
การจัดเก็บภาษีไปในที่สุด
นอกจากนี้ การด�าเนินมาตรการลดปริมาณเกลือทั้งภาษีและไม่ใช่ภาษีของ
ต่างประเทศมาอย่างต่อเนื่อง ยังแสดงให้เห็นว่า การลดปริมาณเกลือช่วยลดอัตรา
การเสียชีวิตและท�าให้งบประมาณรักษาพยาบาลของประเทศลดลงได้โดยเปรียบ
เทียบกับก่อนเริ่มมาตรการ โดยการลดปริมาณเกลือที่บริโภคต่อวันจะช่วยให้
ประชากรไม่เสียชีวิตด้วยโรคความดันโลหิตสูงลดลงร้อยละ 50 โรคหลอดเลือด-
สมองลดลงร้อยละ 15 และโรคหลอดเลือดหัวใจลดลงร้อยละ 6 ซึ่งการลดลงของ
อัตราการเสียชีวิตข้างต้นจะส่งผลต่อเนื่องให้เกิดการประหยัดค่าใช้จ่ายในการ-
รักษาพยาบาลได้มากกว่า 570 ล้านปอนด์ต่อปีในกรณีสหราชอาณาจักร หรือ
7
24,000 ล้านเหรียญสหรัฐต่อปีในกรณีสหรัฐอเมริกา เป็นต้น
8
MAR 2018 NO.48 73