Page 75 - FoodFocusThailand No.144_March 2018
P. 75
Functional F&B Supplement Edition
เกลือลงร้อยละ 10 (ร่วมกับการใช้สารทดแทนเกลือ) และก�าหนดให้ To ensure the successful implementation of the salt reduction
ผู้ประกอบการสามารถปรับลดปริมาณเกลือลงเป็นขั้นตามความพร้อมและ measure through food reformation, KResearch is of the view that a
preliminary goal should be set to reduce salt consumption by 10%
ตามหลักการผลิตอาหารภายในระยะเวลา 4 ปี โดยอ้างอิงจากอัตราขั้นต้น (replacing it with healthier substitutes) and a grace period be allowed
ในการปรับสูตรอาหารและระยะเวลามาตรฐาน (Benchmark) ของบทเรียน for food companies to cut salt in accordance with their readiness and
ต่างประเทศ ซึ่งระยะเวลาดังกล่าวถือว่าไม่สั้นหรือยาวจนเกินไป และน่าจะ food processing principles within four years. This must be carried out
เพียงพอให้ผู้ประกอบการของไทยสามารถปรับตัวได้ อย่างไรก็ตาม อัตรา using an international benchmark. The implementation timeframe of
four years should be sufficient for Thai food companies to adjust.
และระยะเวลาข้างต้นอาจเปลี่ยนแปลงได้ ตามการหารือของผู้ที่เกี่ยวข้อง However, these goals and the timeframe could be changed, depending
ในอุตสาหกรรมอาหารร่วมกับภาครัฐ on the discussions between relevant parties in the Thai food industry
นอกจากนี้ เพื่อเป็นแนวทางลดการใช้เกลือในกระบวนการผลิตอาหาร and government agencies.
To provide such guidelines, a manual on each specific food
ให้แก่ผู้ประกอบการควรมีคู่มือการปรับลดเกลือของอาหารแต่ละประเภท product category should be provided. Nutrition labeling should be
รวมไปถึงการขยายขอบเขตการติดฉลากโภชนาการให้ครอบคลุมอาหารที่มีเกลือสูง made mandatory for all types of high salt content food products. Tax
ทุกประเภท ส่วนมาตรการด้านภาษีการใช้เกลือเกินปริมาณที่เหมาะสมควรเป็น on the excessive use of salt in foods should be exercised as a last
ตัวเลือกสุดท้ายในการด�าเนินการส�าหรับกรณีไม่สามารถหาแนวทางลดปริมาณ resort if other efforts cannot be achieved.
KResearch has assessed that if food companies are required to
เกลือที่เหมาะสมร่วมกันได้ reduce salt by 10%, (replacing it with healthier substitutes), it is
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่าหากมีการปรับสูตรอาหารด้วยการลดปริมาณ expected that their processing costs will increase 1.4% p.a., or THB
การใช้เกลือลงร้อยละ 10 ร่วมกับการใช้สารทดแทนเกลือส�าหรับอาหารบาง 1.5 billion p.a., versus the THB 107 billion p.a. in turnover of the food
ประเภทตามความจ�าเป็นในกระบวนการผลิต น่าจะมีผลท�าให้ต้นทุนของ industry using high levels of salt.
However, the growing health conscious trend through adopting
ผู้ประกอบการผลิตอาหารที่มีการใช้เกลือในปริมาณสูงของไทยเพิ่มขึ้นจาก a healthier diet and the need for NCD patients to consume low salt
การใช้สารทดแทนเกลือประมาณร้อยละ 1.4 ต่อปี หรือคิดเป็น 1,500 ล้านบาท content foods should provide opportunities for food companies to
ต่อปีจากมูลค่าตลาดอุตสาหกรรมอาหารที่มีเกลือสูงที่มีมูลค่ามากกว่า introduce healthier food choices to the market. The move will not only
107,000 ล้านบาทต่อปี add value to their food products, but is also in line with the government
MAR 2018 NO.48 75