Page 87 - 149
P. 87
Drinking Supplement Edition
ข้อมูลจากส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยาในปี 2559 ระบุว่า According to the data provided by the Thai Food and Drug
ผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม อาจแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ Administration in 2016, food and drink products may be categorized
1. อาหารที่บริโภคเพื่อการด�ารงชีวิต (Food for Life) into 3 following types:
1. Food for Life
2. อาหารที่บริโภคเพื่อความบันเทิง (Food for Fun) 2. Food for Fun adhering more to changing trends
3. อาหารที่บริโภคเพื่อจุดประสงค์เชิงหน้าที่ (Food for Function) 3. Food for Function produced for specific purposes
Presently, food and drink products are developed to address the
ปัจจุบันมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มเพื่อให้ตอบโจทย์ consumer’s demand, thus resulting in the following new types of food,
ความต้องการของผู้บริโภค จึงเกิดเป็นอาหารประเภทใหม่ๆ ซึ่งเป็นการ- which are a combination of the three previously mentioned types:
ผสมผสานของอาหาร 3 ประเภท ดังกล่าว ได้แก่ 1. Food for Life and Function such as probiotic vegetable juices
1. อาหารที่บริโภคเพื่อการด�ารงชีวิตเชิงหน้าที่ (Life and Function) with added antioxidants or milk with fortified fibers and DHA
2. Food for Fun and Function such as coffee with added extracts
เช่น น�้าผักเสริมจุลินทรีย์โพรไบโอติก เสริมสารต้านอนุมูลอิสระ นมเสริม and soft drinks with fortified vitamins
สารใยอาหาร เสริม DHA เป็นต้น The innovation of beverage products ranges from the research and
2. อาหารที่บริโภคเพื่อความบันเทิงเชิงหน้าที่ (Fun and Function) เช่น sourcing of new raw material sources such as herbs, extracts, novel
กาแฟเสริมสารสกัด น�้าหวานเสริมวิตามิน เป็นต้น ingredients, and GMOs to the development of novel production
processes such as the use of enzymes or nanotechnology. All of these
นวัตกรรมของผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม เริ่มตั้งแต่การคิดค้นและสรรหาแหล่ง efforts are aimed at satisfying the consumer’s demand by means of
วัตถุดิบใหม่ๆ เช่น สมุนไพร/สารสกัด ส่วนผสมอาหารใหม่ (Novel product modernization and differentiation, hence increasing the market
ingredients) ตลอดจนวัตถุดิบที่ผ่านการดัดแปรพันธุกรรม (GMOs) value.
นอกจากนี้ยังมีการพัฒนากระบวนการผลิตใหม่ๆ เช่น ใช้เอนไซม์ ใช้นาโน- Types of Beverages
เทคโนโลยี เป็นต้น และน�ามาพัฒนาให้ตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภค Drinks may be categorized as follows:
นั่นคือ ท�าอย่างไรให้สินค้ามีความทันสมัย แตกต่าง และมีมูลค่าทางการตลาด 1. Non-Alcoholic Beverages or Soft Drinks such as drinking water,
mineral water, vegetable juice, fruit juice, herbal drink, carbonated
water, milk tea, coffee, cocoa, instant powder drink, and jelly drink
ประเภทของเครื่องดื่ม 2. Alcoholic Beverages or Hard Drinks such as wine, beer, sake,
ประเภทของเครื่องดื่ม อาจแบ่งได้เป็น brandy, whiskey, and vodka
1. เครื่องดื่มไม่ผสมแอลกอฮอล์ (Non-Alcoholic Beverage) หรือ
Soft Drink ได้แก่ น�้าดื่ม น�้าแร่ น�้าผักและผลไม้ น�้าสมุนไพร น�้าโซดา น�้านม
ชา กาแฟ โกโก้ เครื่องดื่มผง เจลลี่ เป็นต้น
2. เครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ (Alcoholic Beverage) หรือ Hard Drink
ได้แก่ ไวน์ เบียร์ สาเก บรั่นดี วิสกี้ วอดก้า เป็นต้น
กรรมวิธีการผลิตเครื่องดื่มเบื้องต้น
การเตรียมวัตถุดิบ และการผสมส่วนผสม
1 1.1 การท�าความสะอาด (Cleaning) ซึ่งแบ่งได้เป็น การท�า
ความสะอาดแบบแห้ง (ไม่ใช่น�้า) และแบบเปียก (ใช้น�้า)
1.2 การลวก (Blanching)
1.3 การลดขนาด (Size reduction)
1.4 การผสม (Mixing)
1.5 การกรอง (Filtering)
2 กระบวนการฆ่าเชื้อ
2.1 กระบวนการแปรรูปโดยใช้ความร้อน (Thermal Process)
2.1.1 การแปรรูปด้วยความร้อนระดับพาสเจอร์ไรส์ (Heat
pasteurization) เป็นกระบวนการฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิต�่า
กว่า 100 °C มี 2 วิธี คือ การฆ่าเชื้อก่อนการบรรจุ และ
การฆ่าเชื้อภายหลังการบรรจุ โดยผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้
ต้องเก็บที่อุณหภูมิต�่ากว่า 8 ºC และต้องมีระบบ
การจัดการ Cold chain ที่ดี มีประสิทธิภาพ
AUG 2018 NO. 50 85