Page 89 - 149
P. 89

Drinking Supplement Edition

























                     2.2.3  Pulsed Electrical Field (PEF) เหมาะกับ
                          อาหารเหลว เป็นการประยุกต์ใช้สนามไฟฟ้า
                          แบบพัลส์ส�าหรับการฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ในอาหาร   การเปรียบเทียบระหว่างการบรรจุแบบธรรมดาและการบรรจุแบบปลอดเชื้อ
                          ด้วยกระบวนการอิเล็กโทรพอเรชัน ซึ่งเป็น       Comparison of normal and aseptic filling processes
                          กระบวนการท�าลายเยื่อหุ้มเซลล์ โดยการเพิ่ม  ที่มา/Source: Gotz (2014)
                          ค่าความน�าไฟฟ้าและค่าสภาพยอมไฟฟ้า  (Götz A., A.A. Wani, H-C. Langowski and J. Wunderlich. 2014. Food Technologies:
                                                            Aseptic Packaging.)
                          ของเยื่อหุ้มเซลล์

            3  การบรรจุลงภาชนะบรรจุ
                  3.1 การบรรจุแบบปลอดเชื้อ (Aseptic Filling)
                     3.1.1  การบรรจุร้อนแบบปลอดเชื้อ (Hot aseptic
                          filling) เป็นระบบการแปรรูปอาหารด้วยความร้อน
                          โดยระดับการให้ความร้อนเพื่อท�าให้อาหารปลอดเชื้อ
                          ได้แก่ ระดับพาสเจอร์ไรส์ (Pasteurization) ระดับ
                          สเตอริไลส์ (Sterilization) ระดับยูเอชที (Ultra High
                          Temperature; UHT) และบรรจุในบรรจุภัณฑ์ปลอดเชื้อ
                          ภายใต้สภาวะที่ปลอดเชื้อของระบบการบรรจุ
                          แบบปลอดเชื้อ
                     3.1.2  การบรรจุเย็นแบบปลอดเชื้อ (Cold aseptic filling)
                          เป็นการบรรจุผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการท�าลายจุลินทรีย์ด้วย
                                                    ๐
                          ความร้อนสูงที่อุณหภูมิประมาณ 137  C เป็นระยะ
                          เวลาอันสั้นประมาณ 4 วินาที จากนั้นลดอุณหภูมิ
                          ผลิตภัณฑ์ให้เย็นลงถึงอุณหภูมิห้อง (ประมาณ 35  C)
                                                           ๐
                          ก่อนการบรรจุใส่ภาชนะบรรจุปลอดเชื้อในสภาวะ
                          ปลอดเชื้อ จากนั้นปิดฝาและลดอุณหภูมิผลิตภัณฑ์ลง
                          เพื่อให้เกิดสภาวะสุญญากาศภายในภาชนะบรรจุ
                          วิธีนี้เป็นวิธีที่นิยมมากที่สุดในอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม
                          เกี่ยวกับน�้าผลไม้ เนื่องจากวิธีบรรจุแบบนี้ช่วยรักษา
                          วิตามินในน�้าผลไม้ได้ดี รสชาติของน�้าผลไม้จึงมี
                          คุณภาพดีกว่าและมีอายุการเก็บรักษานานกว่า
                          การบรรจุเย็นแบบธรรมดา
                 3.2 การบรรจุกระป๋อง (Canning) มีหลักการคือ บรรจุอาหารใน
            ภาชนะปิดผนึกสนิท (Hermetically sealed container) เช่น กระป๋อง (Can)
            ถุงทนร้อนสูง (Retort pouch) หรือขวดแก้ว แล้วฆ่าเชื้อด้วยความร้อน โดย


                                                                                                      AUG 2018 NO. 50  87
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94