Page 53 - FoodFocusThailand No.165 December 2019
P. 53
SOURCE OF ENGINEER
การบํารุงรักษาเครื่องจักรเฉพาะ ตารางที่ 1 ความส�าคัญของการบ�ารุงรักษา
ประสงค์ Table 1 The importance of maintenance
เครื่องจักรเฉพาะประสงค์ (Specific- จุดประสงค์ของการบ�ารุงรักษา ประโยชน์จากการบ�ารุงรักษา
Maintenance Objective
Benefit
purpose machine) เป็นการน�าเอาหลัก
การเครื่องจักรอเนกประสงค์มาใช้โดย เพื่อให้เครื่องจักรท�างานอย่างมีประสิทธิผล เครื่องจักรท�างานเต็มก�าลัง
ปรับปรุง ดัดแปลง ย่อขนาด แล้วประกอบ Effectiveness Maximized operational capacity
เข้าเป็นเครื่องจักรเพียงตัวเดียว ใช้ผลิต เพื่อให้เครื่องจักรมีสมรรถนะการท�างานสูง เครื่องจักรมีอายุการใช้งานยืนยาว
Performance
Increased machinery’s lifetime
สินค้าเฉพาะอย่างตามต้องการมักใช้กับ เพื่อให้เครื่องจักรมีความเที่ยงตรง น่าเชื่อถือ เครื่องจักรผลิตสินค้าได้ตามมาตรฐาน
กระบวนการผลิตแบบต่อเนื่อง สามารถ Reliability Products manufactured as per established standard
ผลิตสินค้าได้ปริมาณมาก รวดเร็ว ต้นทุน ความปลอดภัย ป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ/บาดเจ็บ ต่อผู้ใช้งาน
การผลิตต่อหน่วยต�่าลง Safety Accident/injury prevention
แนวทางการบํารุงรักษาเครื่องจักร 6. ตรวจสอบการสูญเสียน�้ามัน โดยเฉพาะน�้ามันหล่อลื่นว่ารั่วซึมหรือไม่ น�้ามันในระบบไฮดรอลิก ถ้ามี
เฉพาะประสงค์ การรั่วซึมจะเกิดอันตรายขณะใช้งาน
1. ผู้รับผิดชอบต้องศึกษาส่วน 7. ตรวจสอบมาตรวัดต่างๆ ว่าปกติหรือผิดปกติ มีความเที่ยงตรงหรือใช้งานได้ดีเพียงใด ค่าที่อ่านได้ผิดพลาด
ประกอบของเครื่องจักรโดยละเอียดจาก อยู่ในขอบเขตที่ยอมรับได้หรือไม่
คู่มือการใช้งานจากผู้ผลิต (Operation’s 8. วิเคราะห์น�้ามันหล่อลื่นและจาระบีของเครื่องจักร เช่น เมื่อเปลี่ยนถ่ายน�้ามันแล้วต้องเอาน�้ามันมาตรวจวัด
manual) และคุณลักษณะ (Specification) ว่ามีสารแปลกปลอมเจือปนอยู่มากน้อยเพียงใด ถ้ามากผิดปกติแสดงว่าเครื่องจักรมีการสึกหรอมากเกิน
ของเครื่องจักร เช่น โครงสร้าง วัสดุที่ใช้ ต้องหาแนวทางแก้ไขต่อไป
ข้อก�าหนดเฉพาะของแต่ละส่วน เพื่อให้ 9. ตรวจสอบจุดที่เสียหรือขัดข้องบ่อยๆ ในอดีตที่ผ่านมา ซึ่งอาจเกิดจากการออกแบบเครื่องจักรไม่ดีพอ
ทราบข้อมูลเบื้องต้น 10. ท�าการตรวจสอบเฉพาะโดยใช้เทคนิคหรืออุปกรณ์ชนิดพิเศษ เช่น ตรวจสอบสภาพแรงอัดขณะเครื่องก�าลังใช้งาน
2. ศึกษาและคาดการณ์ความผิดปกติ 11. ตรวจสอบระบบควบคุมต่างๆ เช่น ปุ่มหรือคันบังคับการท�างานของเครื่องจักร
ที่อาจเกิดขึ้น ค้นหาจุดอ่อนของเครื่องจักร 12. ต้องระวังอย่าให้การประหยัดมาท�าให้เครื่องจักรต้องท�าหน้าที่ผิดปกติไป เช่น เติมน�้ามันหล่อลื่นน้อยกว่า
บริเวณที่อาจรั่วซึม บริเวณที่มีการเสียดสีมาก ปกติ เดินเครื่องจักรโดยบังคับความเร็วหมุนรอบมากกว่าปกติเพื่อเร่งอัตราการผลิต
จุดที่่มีการรับน�้าหนัก จุดที่มีความร้อนสูง 13. ตรวจสอบอื่นๆ เช่น การบิดเบี้ยวเสียรูปทรงของชิ้นส่วนบางชิ้น ท่อ สายยาง สายไฟ ฝุ่นละอองที่่จับอยู่ตาม
3. ต้องทราบประวัติอายุการใช้งานของ ตัวเครื่อง ฉนวนหุ้มกันความร้อน ประตูน�้า วาล์วความดัน ลิ้นนิรภัย เป็นต้น
เครื่องจักรเป็นข้อมูล การบ�ารุงรักษาเครื่องจักรที่ดีจะท�าให้เครื่องจักรท�างานได้เที่ยงตรง มีประสิทธิภาพสูง ช่วยลดต้นทุนการซ่อมแซม
4. สอบถามหาข้อมูลจากผู้ปฏิบัติงาน บ�ารุงรักษา และลดความสูญเสียต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น
ประจ�าเครื่อง เพื่อหาสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้น
ระหว่างการใช้งาน เช่น เสียงดังผิดปกติ
เป็นครั้งคราว คันโยกบังคับฝืดผิดปกติ
เครื่องจักรเดินไม่เรียบ เพราะช่างบ�ารุง- เอกสารอ้างอิง/References
เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยีความปลอดภัย โดยสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พิมพ์ครั้งที่ 3
รักษาไม่ใช่ผู้ใช้เครื่องจักรตลอดเวลา พ.ศ.2553
อาจไม่ทราบแนวโน้มการช�ารุดเท่ากับผู้ใช้ คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�างานระดับเทคนิคขั้นสูง หมวดวิชาที่ 3 เทคโนโลยีและวิศวกรรม
ความปลอดภัย พิมพ์ครั้งที่ 2 ตุลาคม 2556
เครื่องประจ�า Studying Document of Safety Technology Topics, by School of
5. ตรวจสอบบริเวณของเครื่องจักรที่มี Health Sciences, Sukhothai Thammathirat Open University,
Third edition, 2010.
ความเครียดสูง บริเวณที่เกิดการสูญเสีย Training Document of Safety Officer in High Technical Level
พลังงานมาก จุดที่มีการสั่นสะเทือน Course, Third Section, Safety Technology and Safety
Engineering, Second edition, October 2013.
มาก จุดที่มีเสียงดัง ดูว่าจุดเหล่านี้มีอาการ
เปลี่ยนแปลงไปจากข้อมูลเดิมอย่างไร
จากการเปรียบเทียบกับข้อก�าหนดเดิมหรือ
มาตรฐานจะสามารถบอกได้ว่าควรบ�ารุง
รักษาได้หรือยัง
DEC 2019 FOOD FOCUS THAILAND 53
52-54_Source of Eng_Wuthinun.indd 53 19/11/2562 BE 17:40