SURF THE
AEC
29
JAN 2017 FOOD FOCUSTHAILAND
การผลิ
ตสิ
นค้
าเกษตรรายการหลั
ก เช่
น ปศุ
สั
ตว์
เป็
นรายเดื
อน และ
วิ
เคราะห์
ผลกระทบด้
านต่
างๆต่
อเศรษฐกิ
จสหรั
ฐอเมริ
กา
การขาดข้
อมู
ลเชิ
งลึ
กข้
างต้
นนั้
นอาจไม่
ใช่
ปั
ญหาหลั
กของ
ธุ
รกิ
จแปรรู
ปอาหารและผู
้
ส่
งออกขนาดกลางและขนาดใหญ่
เนื่
องจาก
มี
การรวมตั
วเป็
นเครื
อข่
ายที่
เข้
มแข็
งผ่
านสมาคมการค้
า เช่
นสมาคม-
ผู
้
ผลิ
ตอาหารส�
ำเร็
จรู
ป สมาคมอาหารแช่
เยื
อกแข็
งไทย และรวมถึ
ง
หอการค้
าไทย หอการค้
าจั
งหวั
ด และสภาอุ
ตสาหกรรม เป็
น
แหล่
งข้
อมู
ลการตลาดที่
ส�
ำคั
ญ แต่
อุ
ปสรรคส�
ำคั
ญคื
อการไม่
สามารถ
เชื่
อมต่
อกั
บสหกรณ์
หรื
อเกษตรกรต้
นน�้
ำได้
อย่
างสมบู
รณ์
ปั
ญหาการไม่
มี
ข้
อมู
ลหรื
อมี
ข้
อมู
ลไม่
สมบู
รณ์
นี้
ไม่
ได้
เกิ
ดขึ้
น
เฉพาะกั
บภาคเอกชนเท่
านั้
นแต่
ยั
งเกิ
ดขึ้
นกั
บหน่
วยงานของรั
ฐเช่
นกั
น
ผู
้
เขี
ยนได้
แลกเปลี่
ยนกั
บนั
กวิ
จั
ยของสถาบั
นอาหาร กระทรวง
อุ
ตสาหกรรม ซึ่
งถื
อเป็
น “คลั
งสมอง” ของธุ
รกิ
จผลิ
ตอาหารของไทย
พบว่
า ข้
อมู
ลเรื่
องราคา คุ
ณภาพ และปริ
มาณวั
ตถุ
ดิ
บของไทย
ซึ่
งมาจากฝั
่
งของกระทรวงเกษตรฯส่
วนใหญ่
มาจากส�
ำนั
กเศรษฐกิ
จ-
การเกษตร และข้
อมู
ลเรื่
องการน�
ำเข้
าส่
งออก และรสนิ
ยมการบริ
โภค
ของตลาดต่
างประเทศซึ่
งมาจากฝั
่
งกระทรวงพาณิ
ชย์
ยั
งไม่
ลึ
กพอ
ที
่
จะจั
ดท�
ำ “ระบบข่
าวกรองทางการตลาด” (Market intelligence)
ปั
ญหาการไม่
มี
ข้
อมู
ลที่
แม่
นย�
ำมากพอและการไม่
อาจเชื่
อมต่
อกั
นได้
ระหว่
างผู
้
ผลิ
ตวั
ตถุ
ดิ
บและผู
้
แปรรู
ปอาหารและผู
้
ส่
งออกท�
ำให้
ธุ
รกิ
จการผลิ
ต
อาหารของไทยจึ
งยั
งคงต้
องเผชิ
ญกั
บปั
ญหาความเสี่
ยงเรื
่
องสิ
นค้
าถู
กตี
กลั
บ
หรื
อการห้
ามน�
ำเข้
าสิ
นค้
าเกษตรที่
ไม่
ได้
มาตรฐานเมื่
อส่
งออกไปต่
างประเทศ
ข้
อจ�
ำกั
ดทั้
งหมดที่
กล่
าวข้
างต้
นเป็
นที่
ทราบกั
นดี
อยู
่
แล้
วในหมู
่
เกษตรกร
ผู
้
ประกอบการแปรรู
ปและผู
้
ส่
งออกสิ
นค้
ารวมถึ
งภาครั
ฐเองผู
้
เขี
ยนจึ
งเห็
นว่
า
ถึ
งเวลาที่
เราจ�
ำเป็
นต้
องมี
“ตั
วเชื่
อม”ให้
เกิ
ดการจั
ดท�
ำข้
อมู
ลให้
เป็
นระบบและ
ให้
หน่
วยงานราชการและภาคเอกชนร่
วมก�
ำหนดทิ
ศทางการจั
ดท�
ำข้
อมู
ล
การค้
าต่
างประเทศที่
ตอบโจทย์
การใช้
งานของภาคเอกชนมากขึ้
น
ในทางปฏิ
บั
ติ
นั้
น เราควรมี
คณะกรรมการในระดั
บนโยบายที่
เป็
นตั
ว
ประสานข้
ามหน่
วยงานระดั
บกระทรวงเพื่
อร่
วมจั
ดท�
ำข้
อมู
ลที่
จ�
ำเป็
นต่
อ
เกษตรกรผู
้
ประกอบการและผู
้
ส่
งออกรายย่
อยโดยเริ่
มต้
นจากข้
อมู
ลสองชุ
ด
ที่
ส�
ำคั
ญ ได้
แก่
ข้
อมู
ลที่
เกี่
ยวข้
องกั
บตลาด เช่
น รสนิ
ยมความต้
องการของ
ผู
้
บริ
โภคทั้
งในและต่
างประเทศ ลั
กษณะและราคาของสิ
นค้
าที่
มี
อยู
่
แล้
ว
ในตลาด เพื่
อหาจุ
ดขายของสิ
นค้
าที่
จะผลิ
ตในอนาคต
การด�
ำเนิ
นการนี้
ควรให้
สถาบั
นอาหารกระทรวงอุ
ตสาหกรรมส�
ำนั
กงาน
เศรษฐกิ
จการเกษตร กระทรวงอุ
ตสาหกรรม และส�
ำนั
กงานนโยบายและ
ยุ
ทธศาสตร์
การค้
ากระทรวงพาณิ
ชย์
ซึ่
งจะเป็
นหน่
วยงานที่
มี
ศั
กยภาพบริ
หาร
จั
ดการและวิ
เคราะห์
ข้
อมู
ล เข้
ามาเป็
นคณะท�
ำงานร่
วมบริ
หารจั
ดการข้
อมู
ล
ดั
งกล่
าว โดยจะต้
องมี
ภาคเอกชน เช่
น หอการค้
า สภาอุ
ตสาหกรรม และ
สภาผู
้
ส่
งสิ
นค้
าทางเรื
อฯ เป็
นที่
ปรึ
กษาเพื่
อก�
ำหนดรายละเอี
ยดในข้
อมู
ล
แต่
ละชุ
ด เพื่
อให้
ข้
อมู
ลที่
จั
ดท�
ำนั้
นตรงความต้
องการของผู
้
ใช้
งานจริ
ง
สุ
ดท้
ายนี้
การด�
ำเนิ
นนโยบายของรั
ฐควรพิ
จารณาว่
าเกษตรกรนั้
นเป็
น
“ผู้
ประกอบการ” ที่
รั
ฐต้
องสนั
บสนุ
นข้
อมู
ลเพื่
อการตั
ดสิ
นทางธุ
รกิ
จที่
แม่
นย�
ำ
มากกว่
าการให้
เงิ
นทุ
นอุ
ดหนุ
นเพี
ยงอย่
างเดี
ยว
ที่
แม่
นย�
ำได้
จึ
งต้
องจั
ดท�
ำข้
อมู
ลด้
านการตลาดเองท�
ำให้
เกิ
ดความ-
ซ�้
ำซ้
อนในการจั
ดท�
ำข้
อมู
ลของภาครั
ฐโดยรวมและสิ้
นเปลื
อง
โดยไม่
จ�
ำเป็
น
นอกจากนี้
แล้
ว ยั
งไม่
นั
บรวมข้
อมู
ลอี
กหลายชุ
ดจากหน่
วยงาน
ต่
างๆซึ่
งเป็
นประโยชน์
ต่
อวงการธุ
รกิ
จอาหารแต่
ก็
ยั
งไม่
มี
การเชื่
อมโยง
กั
นอย่
างเป็
นระบบ เช่
นข้
อมู
ลเทคโนโลยี
และนวั
ตกรรมการผลิ
ตอาหาร
ที่
จั
ดท�
ำโดยกระทรวงวิ
ทยาศาสตร์
และเครื
อข่
ายมหาวิ
ทยาลั
ยต่
างๆ
และข้
อมู
ลผู
้
ผลิ
ตสิ
นค้
าเกษตรผู
้
แปรรู
ปอาหารและผู
้
ส่
งออกซึ่
งจั
ดท�
ำ
โดยหอการค้
าไทยและสภาอุ
ตสาหกรรม