- page 50

48
SEP 2017
FOOD FOCUSTHAILAND
SPECIAL
FOCUS
ข้
อมู
ลเพิ่
มเติ
ม/ Additional Information
1
VeosGroup (2016)
ปั
จจุ
บั
นการแข่
งขั
นในอุ
ตสาหกรรมอาหารมี
แนวโน้
มสู
งขึ้
น เนื่
องมาจาก
ความระมั
ดระวั
งและความเอาใจใส่
เกี่
ยวกั
บอาหารที่
เพิ่
มมากขึ้
นของ
ผู
บริ
โภค การผลิ
ตอาหารภายใต้
แนวคิ
ดคลี
นลาเบล (Clean label)
ได้
กลายเป็
นงานส�
ำคั
ญส�
ำหรั
บผู
ผลิ
ต โดยทั่
วไปคลี
นลาเบลให้
ความหมาย
ในเชิ
งของความชั
ดเจนการปราศจากวั
ตถุ
เจื
อปน และฉลากอาหารสามารถ
เข้
าใจได้
ง่
ายหรื
ออาจหมายรวมถึ
งผลิ
ตภั
ณฑ์
ธรรมชาติ
ที
ไม่
มี
การแต่
งเติ
สารสั
งเคราะห์
หรื
อเคมี
ใดๆ ดั
งนั้
น ความท้
าทายในการพั
ฒนาผลิ
ตภั
ณฑ์
ไม่
ใช่
เพี
ยงแค่
น�
ำสารสั
งเคราะห์
เช่
นวั
ตถุ
กั
นเสี
ยหรื
อวั
ตถุ
แต่
งกลิ่
นรสออก
เท่
านั้
น แต่
ยั
งรวมถึ
งการน�
ำส่
วนประกอบใดๆ ที่
มี
เลขรหั
สวั
ตถุ
เจื
อปน
อาหาร (E-number) เช่
นสี
ผสมอาหารสารให้
ความคงตั
วอิ
มั
ลซิ
ไฟเออร์
หรื
อสารปรั
บปรุ
งเนื้
อสั
มผั
สออกด้
วย
จากข้
อมู
ลโดย Zion Market Research รายงานว่
ามู
ลค่
าทางการตลาด
ของผลิ
ตภั
ณฑ์
เนื้
อสั
ตว์
แปรรู
ปในปี
2016 ที่
ผ่
านมามี
มู
ลค่
ารวมถึ
ง 714 พั
นล้
าน-
เหรี
ยญสหรั
ฐ และบทความเรื่
อง Meat and Poultry: US Retail Market Trends
andOpportunitiesซึ
งได้
ตี
พิ
พม์
ในPackagedFacts,Rockville,MDยั
งได้
รายงาน
ว่
าผู
ผลิ
ตเนื้
อและสั
ตว์
ปี
กแปรรู
ปต่
างตื่
นตั
ว และตอบสนองต่
อความต้
องการของ
ผู
บริ
โภคในเรื่
องของคลี
นลาเบลโดยการจั
ดหาผลิ
ตภั
ณฑ์
ทางเลื
อกที่
เป็
นผลิ
ตภั
ณฑ์
ออร์
แกนิ
กผลิ
ตภั
ณฑ์
ที่
มี
ลดการใช้
สารกั
นเสี
ยหรื
อวั
ตถุ
เจื
อปนหรื
อผลิ
ตภั
ณฑ์
ที่
ไม่
มี
การใช้
วั
ตถุ
เจื
อปนอาหารเลย“ผู
บริ
โภคต่
างมองหาผลิ
ตภั
ณฑ์
คลี
นลาเบลซึ่
งบนฉลาก
อาหารจะปราศจากข้
อมู
ลวั
ตถุ
เจื
อปนอาหาร” David Sprinkle ผู
อ�
ำนวยการวิ
จั
PackagedFactsกล่
าว
เป็
นที่
ทราบกั
นดี
ว่
าโปรตี
นเป็
นแหล่
งของสารอาหารและมี
คุ
ณสมบั
ติ
เชิ
งหน้
าที่
จากธรรมชาติ
โดยคุ
ณสมบั
ติ
เชิ
งหน้
าที่
ดั
งกล่
าวนั้
นขึ้
นอยู
กั
บชนิ
ดของโปรตี
นที่
จะ
น�
ำมาใช้
โปรตี
นจากเนื้
อสั
ตว์
สามารถเข้
ากั
นได้
ดี
กั
บส่
วนผสมที่
ใช้
ร่
วมกั
บผลิ
ตภั
ณฑ์
เนื้
อสั
ตว์
ทั้
งในด้
านของสี
กลิ่
น และการช่
วยปรั
บปรุ
งเนื้
อสั
มผั
ส อี
กทั้
งยั
งปราศจาก
E-number สารก่
อภู
มิ
แพ้
และสารที่
ได้
จากการตั
ดแต่
งทางพั
นธุ
กรรม
ฟอตเฟสมี
การใช้
งานอย่
างแพร่
หลายในผลิ
ตภั
ณฑ์
เนื้
อสั
ตว์
แปรรู
ปวั
ตถุ
ประสงค์
การใช้
งานเพื
อเพิ่
มความสามารถในการอุ
มน�้
ำ และการท�
ำอิ
มั
ลชั
น ซึ่
งส่
งผลต่
โครงสร้
างและเนื้
อสั
มผั
สของผลิ
ตภั
ณฑ์
เนื้
อสั
ตว์
มี
งานวิ
จั
ยหลายฉบั
บที่
ต้
องการ
ทดแทนหรื
อลดการใช้
ปริ
มาณฟอสเฟต อย่
างไรก็
ตาม Bart Heyman, Ph.D.
1
ความท้
าทายในการพั
ฒนา
ผลิ
ตภั
ณฑ์
เนื้
อสั
ตว์
แปรรู
ปภายใต้
เทรนด์
“คลี
นลาเบล”
ได้
ศึ
กษาผลของการทดแทนฟอสเฟตโดยใช้
โปรตี
นสกั
ดจากสั
ตว์
พบกว่
าการใช้
โปรตี
นสกั
ดจากสั
ตว์
ในปริ
มาณร้
อยละ 0.8 สามารถทดแทนการใช้
ฟอตเฟส
ในผลิ
ตภั
ณฑ์
ไส้
กรอกได้
โดยไม่
มี
ความแตกต่
างในด้
านความสามารถในการ-
อุ
มน�้
ำ (Waterholdingcapacity)และร้
อยละของน�้
ำหนั
กที่
หายไปในการท�
ำให้
สุ
ก (Cooking loss) เมื่
อเปรี
ยบเที
ยบกั
บตั
วอย่
างควบคุ
Prabhu and Doerscher (2000) ได้
ศึ
กษาผลของการใช้
คอลลาเจน
จากหนั
งหมู
เพื่
อลดปริ
มาณไขมั
นในไส้
กรอกแฟรงเฟอร์
เตอร์
และเพิ่
มร้
อยละ
การผลิ
ตหลั
งการท�
ำสุ
ก (Cooking yield) พบว่
าการใช้
คอลลาเจนความเข้
มข้
ร้
อยละ 1 ในสู
ตรจะช่
วยลดปริ
มาณไขมั
นในไส้
กรอก และช่
วยเพิ่
มร้
อยละ
การผลิ
ตหลั
งการท�
ำสุ
ก นอกจากนี
ยั
งมี
การวิ
จั
ยของ Pereira
et al.
(2011)
พบว่
าการใช้
คอลลาเจนสกั
ดปริ
มาณร้
อยละ 0.4-1 สามารถปรั
บปรุ
งคุ
ณภาพ
ของไส้
กรอกแฟรงเฟอร์
เตอร์
ด้
านการลดร้
อยละของน�้
ำหนั
กที่
หายไปในการท�
ำให้
สุ
กช่
วยปรั
บปรุ
งเนื้
อสั
มผั
สและสี
ของผลิ
ตภั
ณฑ์
ในการผลิ
ตเชิ
งอุ
ตสาหกรรม
การรั
บรู
ของผู
บริ
โภคเกี่
ยวกั
บคลี
นลาเบลจะยั
งคงเติ
บโตอย่
างต่
อเนื่
อง
โดยผู
บริ
โภคพยายามให้
ความส�
ำคั
ญกั
บอาหารที่
ปราศจากการเติ
มแต่
ต้
องขอบคุ
ณส่
วนผสมแบบคลี
นลาเบลที่
เป็
นทางเลื
อกในการเพิ่
มคุ
ณภาพของ
อาหารในชี
วิ
ตประจ�
ำวั
นและช่
วยลดต้
นทุ
นในการผลิ
ตได้
อี
กด้
วย
Yung-ChengChang
VeosGroup
1...,40,41,42,43,44,45,46,47,48,49 51,52,53,54,55,56,57,58,59,60,...114
Powered by FlippingBook