Food FocusThailand
JULY 2015
41
มี
อะไรไหมที่
จะบอกว่
าสิ
นค้
าเกษตรนี้
ปลอดภั
ยจาก
สารพิ
ษตกค้
าง?
การตรวจพบสารพิ
ษตกค้
างในสิ
นค้
าเกษตรยั
งไม่
สามารถ
สรุ
ปได้
ทั
นที
ว่
าสิ
นค้
าเกษตรนั้
นไม่
ปลอดภั
ยต่
อผู
้
บริ
โภค
ขึ้
นอยู
่
กั
บปริ
มาณสารพิ
ษตกค้
างที่
ร่
างกายได้
รั
บ ดั
งนั้
น
จึ
งจ�
ำเป็
นที่
จะต้
องก�
ำหนดระดั
บปริ
มาณสารพิ
ษตกค้
าง
ที่
อนุ
ญาตให้
ตรวจพบได้
ในสิ
นค้
าเกษตรต่
างๆ ได้
แต่
ยั
งคง
ปลอดภั
ยต่
อผู
้
บริ
โภคทั้
งแบบเรื้
อรั
งและฉั
บพลั
น และ
เกษตรกรสามารถปฏิ
บั
ติ
ได้
จริ
ง ดั
งนั้
น กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์
โดยอาศั
ยอ�
ำนาจตามพระราชบั
ญญั
ติ
มาตรฐาน
สิ
นค้
าเกษตรพ.ศ.2551และที่
แก้
ไขเพิ่
มเติ
มพ.ศ.2558จึ
ง
ประกาศมาตรฐานสิ
นค้
าเกษตร เรื่
อง สารพิ
ษตกค้
าง:
ปริ
มาณสารพิ
ษตกค้
างสู
งสุ
ด (Maximum Residue Limit;
MRL) (มกษ.9002)และ เรื่
องสารพิ
ษตกค้
าง:ปริ
มาณสาร
พิ
ษตกค้
างสู
งสุ
ดที
่
ปนเปื
้
อนจากสาเหตุ
ที่
ไม่
อาจหลี
กเลี่
ยงได้
(Extraneous Maximum Residue Limit; EMRL) (มกษ.
9003) เป็
นมาตรฐานเพื่
อใช้
เป็
นเกณฑ์
อ้
างอิ
งในการผลิ
ต
การค้
าและการควบคุ
มตรวจสอบสิ
นค้
าที่
ผลิ
ตน�
ำเข้
าและ
ส่
งออกไปต่
างประเทศ
หากตรวจปริ
มาณสารพิ
ษตกค้
างในสิ
นค้
าเกษตรแล้
ว
ไม่
เกิ
นค่
า MRL และ EMRL ก็
มั่
นใจได้
เลยว่
าปลอดภั
ย
เนื่
องจากมกอช.ได้
ประเมิ
นความเสี่
ยงของผู
้
บริ
โภคไทยโดย
ใช้
ข้
อมู
ลการบริ
โภคอาหารของคนไทยว่
าค่
า MRLs และ
EMRLsที่
ก�
ำหนดขึ้
นนั
้
นอยู
่
ระดั
บที
่
ปลอดภั
ยต่
อผู
้
บริ
โภค เพื่
อ
ให้
มองภาพได้
ง่
ายขึ้
น ขอยกตั
วอย่
างนะคะ สมมุ
ติ
วั
ตถุ
อั
นตรายทางการเกษตรชนิ
ด ก. ขึ้
นทะเบี
ยนอนุ
ญาตให้
ใช้
ในแตงโมและแตงกวาดั
งนั้
น ในการก�
ำหนดค่
าMRLs เรา
จะก�
ำหนดเพี
ยงในแตงโมและแตงกวา โดยต้
องทราบก่
อน
ว่
าจะพบปริ
มาณการตกค้
างจากการใช้
วั
ตถุ
อั
นตราย
ทางการเกษตรชนิ
ดก.ตามค�
ำแนะน�
ำในปริ
มาณเท่
าใด เช่
น
จากการศึ
กษาทดลองพบสารพิ
ษตกค้
างชนิ
ดก.ในปริ
มาณ
0.5มิ
ลลิ
กรั
มต่
อกิ
โลกรั
มแตงโมและจะก�
ำหนดค่
าMRLที่
0.5 มิ
ลลิ
กรั
มต่
อกิ
โลกรั
มแตงโม ถ้
าคนไทยบริ
โภคแตงโม
เฉลี่
ย 500 กรั
มต่
อคนต่
อวั
น นั้
นแปลว่
าคนไทยมี
โอกาสได้
รั
บสารพิ
ษตกค้
างชนิ
ดก. จากแตงโม0.25มิ
ลลิ
กรั
มต่
อคน
ต่
อวั
นและจากการศึ
กษาทดลองพบสารพิ
ษตกค้
างชนิ
ดก.
ในแตงกวาปริ
มาณ1มิ
ลลิ
กรั
มต่
อกิ
โลกรั
มแตงกวาและจะ
ก�
ำหนดค่
า MRL ที่
1 มิ
ลลิ
กรั
มต่
อกิ
โลกรั
มแตงกวา ถ้
า
คนไทยบริ
โภคแตงกวาเฉลี่
ย 200 กรั
มต่
อคนต่
อวั
น นั้
นแปลว่
า
คนไทยมี
โอกาสได้
รั
บสารพิ
ษตกค้
างชนิ
ด ก. จากแตงกวา
0.2 มิ
ลลิ
กรั
มต่
อคนต่
อวั
น ดั
งนั้
น คนไทยมี
โอกาสได้
รั
บสารพิ
ษ
ตกค้
างชนิ
ด ก. เฉลี่
ยจากการรั
บประทานแตงโม และแตงกวา
รวม0.45มิ
ลลิ
กรั
มต่
อคนต่
อวั
นหรื
อคิ
ดเป็
น0.008มิ
ลลิ
กรั
ม
ต่
อ 1 กิ
โลกรั
มน�้
ำหนั
กตั
วต่
อวั
น (คนไทยทั่
วไปมี
น�้
ำหนั
ก
ตั
วเฉลี่
ย54กิ
โลกรั
ม)จากนั้
นน�
ำตั
วเลขนี้
ไปเปรี
ยบเที
ยบกั
บ
to ensure that MRLs and EMRLs are safe for consumers. In order tomake it easier to
understand, let us consider an example. Let’s assume a kind of pesticide “A” has been
registered tobeusedwithwatermelonsand cucumbers. Therefore, indeterminingMRL
values,wewilldesignateMRLsonly formelonsandcucumbers.Wemustknowbeforehand
theamountof residue fromusingagriculturalpesticide “A” inaccordancewith the registered
label thatwillbe foundaccording to instructionsofhowmuchshouldbeused.Forexample,
experimental studiesmight find0.5milligramof residue frompesticide “A”per1kilogram
of watermelon while the MRL for watermelon is set at 0.5 milligram per 1 kilogram of
watermelon. If Thais consume an average of 500 grams of watermelon per person per
day, thatmeansThaishaveachanceof ingestingpesticide “A” residue fromwatermelons
at 0.25 milligrams per person per day. And if experimental studies find residue from
pesticide “A” incucumbersat levelsof 1milligramper 1kilogramof cucumbers, theMRL
forcucumberswill besetat1milligramperkilogram. IfThaisconsumeanaverageof200
gramsof cucumbersper personper day, thismeansThaishaveachanceof consuming